หรืออย่างไร
.
สัญลักษณ์ชาติไทยคือ “ไตรรงค์”
สามสีคงยงยืนเป็นพื้นฐาน
สี “แดง”หมาย ถึง “ชาติ” วิลาสมาน
“ขาว”ตระการ คือ “ศาสน์” ของชาติไทย
.
“น้ำเงิน”หรือคือ “องค์พระกษัตริย์”
พระมิ่งขวัญเลิศรัตน์ ที่ยิ่งใหญ่
รวมสามสีมีมาค่าวิไล
ลือเลื่องไกลกล่าวขานบ้าน “ขวานทอง”
.
จากโบราณบ้านเมืองรุ่งเรืองโรจน์
ชาวโลกโจทย์จรรงามยามฟ้าฟ่อง
เป็นเมือง “พุทธ” สุดงามตามครรลอง
เป็นเมืองของศาสนาพระโคดม
.
สุโขทัย,อยุธยา มา “รัตนะ”
โลกแจ้งจะพระสงฆ์ตรงเหมาะสม
จรรโลงศาสน์ราษฎร์ประชาพาอุดม
“พุทธ” ห่อห่มไทยอยู่คู่ฟ้าดิน
.
มากวัดวาอารามตามสถาน
มากอาคารปานแมนแดนถวิล
มากค่าควรล้วนเลิศเทิดชีวิน
มากสมจินต์อินทร์กษัตริย์เคร่งครัดความ
.
มาบัดนี้สี “ขาว” มาพราวพร้อย
เกิดเป็นรอยคล้อยหมองทำนองห้าม
“พุทธ” เคยใส่ในสีที่งดงาม
“ใคร” มาปรามห้ามพุทธ ให้หลุดพรหม
.
หรือจะเอาเขาใครใส่ “สีขาว”
ถึงจะพราวขาวนวลชวนเหมาะสม
หรือจะรื้อถือแกว่งตามแรงลม
หรือจะถมเททับ ทรัพย์แผ่นดิน๚ะ๛
.
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีบันทึกเรื่องธงชาติ ใน พ.ศ. 2470
เพื่อรวบรวมความคิดเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงธงชาติจากบุคคลกลุ่มต่าง ๆ
เพื่อที่จะได้ไม่ต้องมีการเปลี่ยนธงชาติหลายครั้ง กรมราชเลขาธิการได้รวบรวมความเห็นเรื่องนี้จากที่ต่าง ๆ
รวมทั้งในหนังสือพิมพ์ เพื่อประกอบพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งในบรรดาเอกสารดังกล่าว
ปรากฏว่าในหมู่ผู้ที่สนับสนุนให้ใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติต่อไป ได้มีการให้ความหมายของธงที่กระชับกว่าเดิม
กล่าวคือ
สีแดงหมายถึงชาติ
สีขาวหมายถึงพุทธศาสนา
สีน้ำเงินหมายถึงพระมหากษัตริย์
ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ไปเล็กน้อย
แต่ยังครอบคลุมอุดมการณ์ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์"
ที่พระองค์ทรงกำหนดไว้เช่นเดิม และยังเป็นที่จดจำสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบั�
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%98%E0%B8%87
%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8
%B4%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
.
สัญลักษณ์ชาติไทยคือ “ไตรรงค์”
สามสีคงยงยืนเป็นพื้นฐาน
สี “แดง”หมาย ถึง “ชาติ” วิลาสมาน
“ขาว”ตระการ คือ “ศาสน์” ของชาติไทย
.
“น้ำเงิน”หรือคือ “องค์พระกษัตริย์”
พระมิ่งขวัญเลิศรัตน์ ที่ยิ่งใหญ่
รวมสามสีมีมาค่าวิไล
ลือเลื่องไกลกล่าวขานบ้าน “ขวานทอง”
.
จากโบราณบ้านเมืองรุ่งเรืองโรจน์
ชาวโลกโจทย์จรรงามยามฟ้าฟ่อง
เป็นเมือง “พุทธ” สุดงามตามครรลอง
เป็นเมืองของศาสนาพระโคดม
.
สุโขทัย,อยุธยา มา “รัตนะ”
โลกแจ้งจะพระสงฆ์ตรงเหมาะสม
จรรโลงศาสน์ราษฎร์ประชาพาอุดม
“พุทธ” ห่อห่มไทยอยู่คู่ฟ้าดิน
.
มากวัดวาอารามตามสถาน
มากอาคารปานแมนแดนถวิล
มากค่าควรล้วนเลิศเทิดชีวิน
มากสมจินต์อินทร์กษัตริย์เคร่งครัดความ
.
มาบัดนี้สี “ขาว” มาพราวพร้อย
เกิดเป็นรอยคล้อยหมองทำนองห้าม
“พุทธ” เคยใส่ในสีที่งดงาม
“ใคร” มาปรามห้ามพุทธ ให้หลุดพรหม
.
หรือจะเอาเขาใครใส่ “สีขาว”
ถึงจะพราวขาวนวลชวนเหมาะสม
หรือจะรื้อถือแกว่งตามแรงลม
หรือจะถมเททับ ทรัพย์แผ่นดิน๚ะ๛
.
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีบันทึกเรื่องธงชาติ ใน พ.ศ. 2470
เพื่อรวบรวมความคิดเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงธงชาติจากบุคคลกลุ่มต่าง ๆ
เพื่อที่จะได้ไม่ต้องมีการเปลี่ยนธงชาติหลายครั้ง กรมราชเลขาธิการได้รวบรวมความเห็นเรื่องนี้จากที่ต่าง ๆ
รวมทั้งในหนังสือพิมพ์ เพื่อประกอบพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งในบรรดาเอกสารดังกล่าว
ปรากฏว่าในหมู่ผู้ที่สนับสนุนให้ใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติต่อไป ได้มีการให้ความหมายของธงที่กระชับกว่าเดิม
กล่าวคือ
สีแดงหมายถึงชาติ
สีขาวหมายถึงพุทธศาสนา
สีน้ำเงินหมายถึงพระมหากษัตริย์
ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ไปเล็กน้อย
แต่ยังครอบคลุมอุดมการณ์ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์"
ที่พระองค์ทรงกำหนดไว้เช่นเดิม และยังเป็นที่จดจำสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบั�
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%98%E0%B8%87
%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8
%B4%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น